thumbs-up
เคยไปหาหมอเบื้องต้นเเล้วค่ะ เเละเคยซื้อยากิน ตอนแรกหมอวินิจฉัยว่าเป็นโรคเริม ตุ่มแรกเริ่มขึ้นที่ริมฝีปาก มีลักษณะเป็นตุ่มมีหนองข้างใน และลามไปที่ในช่องปาก ข้างจมูก ที่จอนผม ตุ่มทุกตุ่มมีหนองข้างใน เคยกินยาสำหรับโรคเริมโดยเฉพาะ เป็นกำจัดไวรัสเฮอร์ปีเป็นกำจัดไวรัสเฮอร์ปี acyclovir และยาสำหรับกำจัดเชื้อแบคทีเรีย ตอนนี้ตุ่มที่ใบหน้าเริ่มดีขึ้นใกล้หาย แต่จู่ๆก็มีตุ่มขึ้นที่ใบหน้าเเละกลางหลังใแต่จู่ๆก็มีตุ่มขึ้นที่ใบหน้าเเละกลางหลังใหญ่กว่าเดิม ปวดกว่าเดิมมาก ลักษณะของตุ่มเหมือนเดิม คล้ายกับว่ามันกำลังลามไปทั่วทั้งตัวค่ะ รักษาไม่หายสักที ทั้งที่กินยาเเล้ว ไปโรงบาลหาหมอก็เเล้วค่ะ ปล.เป็นเริมครั้งเเรก ผู้ป่วยเป็นเบาหวานเเละมีอาการนอนไม่ค่อยหลับ

หญิง | อายุ 58 ปี

งูสวัด (Herpes zoster)

  • เบาหวาน
  • งูสวัด

เคยไปหาหมอเบื้องต้นเเล้วค่ะ เเละเคยซื้อยากิน ตอนแรกหมอวินิจฉัยว่าเป็นโรคเริม ตุ่มแรกเริ่มขึ้นที่ริมฝีปาก มีลักษณะเป็นตุ่มมีหนองข้างใน และลามไปที่ในช่องปาก ข้างจมูก ที่จอนผม ตุ่มทุกตุ่มมีหนองข้างใน เคยกินยาสำหรับโรคเริมโดยเฉพาะ เป็นกำจัดไวรัสเฮอร์ปีเป็นกำจัดไวรัสเฮอร์ปี acyclovir และยาสำหรับกำจัดเชื้อแบคทีเรีย ตอนนี้ตุ่มที่ใบหน้าเริ่มดีขึ้นใกล้หาย แต่จู่ๆก็มีตุ่มขึ้นที่ใบหน้าเเละกลางหลังใแต่จู่ๆก็มีตุ่มขึ้นที่ใบหน้าเเละกลางหลังใหญ่กว่าเดิม ปวดกว่าเดิมมาก ลักษณะของตุ่มเหมือนเดิม คล้ายกับว่ามันกำลังลามไปทั่วทั้งตัวค่ะ รักษาไม่หายสักที ทั้งที่กินยาเเล้ว ไปโรงบาลหาหมอก็เเล้วค่ะ ปล.เป็นเริมครั้งเเรก ผู้ป่วยเป็นเบาหวานเเละมีอาการนอนไม่ค่อยหลับ

thumbs-up

0

thumbs-upแพทย์ตอบคำปรึกษาแล้ว
  • thumbs-up

    คำตอบโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ

    profile-img

    ปภพ ชัยวัฒโนดม

    (แก้ไขการตอบกลับ  - )

    โดยทั่วไปอาการของงูสวัดจะมีลักษณะเป็นตุ่มน้ำใส ปวดแสบปวดร้อน ขึ้นเป็นแถบที่บริเวณใบหน้าหรือลำตัว ซีกใดซีกหนึ่ง โดยสามารถเป็นซ้ำที่ตำแหน่งเดิมได้ อย่างไรก็ตามในกรณีที่มีงูสวัดขึ้นหลายตำแหน่ง จะสัมพันธ์กับการมีภูมิคุ้มกันที่ผิดปกติ เช่น HIV เบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ หรือโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องอื่นๆ ควรได้รับการตรวจหาสาเหตุเพิ่มเติมต่อไปครับ หากไม่รักษาที่ต้นเหตุก็จะมีภาวะแทรกซ้อนต่อไปได้

    thumbs-up

    0

แพทย์สาขาที่เกี่ยวข้อง

doctor-image
icon

0

icon

15

icon

0

เอกสิทธิ์ วาณิชเจริญกุล

หมอต่อมไร้ท่อ

location

ไม่มีข้อมูลโรงพยาบาลใกล้เคียง

ดูรายละเอียดแพทย์

doctor-image
icon

0

icon

2

icon

0

ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์

หมอต่อมไร้ท่อ

location

ไม่มีข้อมูลโรงพยาบาลใกล้เคียง

ดูรายละเอียดแพทย์

doctor-image
icon

0

icon

0

icon

0

อิสรีย์ หาญอุทัยรัศมี

หมอต่อมไร้ท่อ

location

ไม่มีข้อมูลโรงพยาบาลใกล้เคียง

ดูรายละเอียดแพทย์

doctor-image
icon

0

icon

30

icon

0

ประดิษฐ์ รัชตามุขยนันต์

หมอต่อมไร้ท่อ

+ 1

location

ไม่มีข้อมูลโรงพยาบาลใกล้เคียง

ดูรายละเอียดแพทย์

doctor-image
icon

0

icon

22

icon

0

พงษ์เทพ พิศาลธุรกิจ

หมอต่อมไร้ท่อ

location

ไม่มีข้อมูลโรงพยาบาลใกล้เคียง

ดูรายละเอียดแพทย์

doctor-image
icon

2

icon

576

icon

0

สืบวงศ์ จุฑาภิสิทธิ์

หมอต่อมไร้ท่อ

location

ไม่มีข้อมูลโรงพยาบาลใกล้เคียง

ดูรายละเอียดแพทย์

doctor-image
icon

0

icon

223

icon

0

อดุลย์ รัตนวิจิตราศิลป์

หมอต่อมไร้ท่อ

location

ไม่มีข้อมูลโรงพยาบาลใกล้เคียง

ดูรายละเอียดแพทย์

doctor-image
icon

1

icon

95

icon

0

วันเฉลิม นันท์วิฑิตพงศ์

หมอต่อมไร้ท่อ

+ 1

location

ไม่มีข้อมูลโรงพยาบาลใกล้เคียง

ดูรายละเอียดแพทย์

doctor-image
icon

0

icon

50

icon

0

เพชรพริ้ง ประจวบพันธ์ศรี

หมอต่อมไร้ท่อ

location

ไม่มีข้อมูลโรงพยาบาลใกล้เคียง

ดูรายละเอียดแพทย์

doctor-image
icon

0

icon

47

icon

0

ปภานัน มหาพล

หมอต่อมไร้ท่อ

location

ไม่มีข้อมูลโรงพยาบาลใกล้เคียง

ดูรายละเอียดแพทย์

บทความที่เกี่ยวข้อง

article-cover
  • เบาหวาน
  • Health&Wellness

8 เรื่องเบาหวานที่คุณอาจยังไม่รู้..? / เข้าใจผิด

พบอาการเสี่ยงเป็น โรคเบาหวาน เช็คอาการฟรีที่ Agnos ได้ตลอด 24 ชั่วโมง. 1. เบาหวานมีหลายชนิด เบาหวานชนิดที่ 1 : เกิดจากการขาดอินซูลิน เนื่องจากตับอ่อนไม่สามารถหลั่งอินซูลินได้ เบาหวานชนิดที่ 2 : เกิดจากภาวะการลดลงของการสร้างอินซูลิน ร่วมกับภาวะดื้ออินซูลิน และมักเกิดจากกรรมพันธุ์ เบาหวานขณะตั้งครรภ์ : จะเกิดขึ้นเมื่อ คุณแม่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูง ในระหว่างตั้งครรภ์ มักจะเกิดขึ้นในช่วงระหว่าง 24 ถึง 28 สัปดาห์ และมักจะหายไปหลังจากที่ทารกคลอดออกมา ผู้ที่เป็นเบาหวาน ขณะ ตั้งครรภ์ จะมีแนวโน้มที่

article-cover
  • โรคเบาหวาน
  • เบาหวาน
  • +3

ทำไมถึงเรียกว่า เบาหวาน?

เนื่องด้วยวันนี้เป็น วันเบาหวานโลก ซึ่งตรงกับวันที่ 14 พฤศจิกายน ของทุกปี เราเลยอยากจะชวนทุกคนมาตั้งคำถามเกี่ยวกับเบาหวานกันสักหน่อย เคยสงสัยกันมั้ยว่า ทำไมเบาหวาน ถึงเรียกว่าเบาหวาน? ในสมัยนี้เนี่ยเรามีวิธีการต่างๆในการรักษา และตรวจเช็คโรคเบาหวาน แต่ในสมัยก่อนล่ะ? พวกเขาทำกันยังไง? วันเบาหวานโลก คืออะไร วันเบาหวานโลก ตรงกับวันที่ 14 พฤศจิกายน ของทุกปี โดยสหพันธ์เบาหวานนานาชาติ (IDF) ได้กำหนดวันเบาหวานนี้ขึ้ มีเป้าหมายเพื่อสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับภัยคุกคามที่เพิ่มขึ้น ของโรคเบาหวานทั่วโลก

article-cover
  • technology
  • เบาหวาน
  • +2

วัดน้ำตาลในเลือด ด้วยเครื่อง CGM

Continuous Glucose Monitoring (CGM) “จะเป็นอย่างไร...ถ้าเราสามารถรับรู้ได้ถึงระดับ น้ำตาลในเลือด ของเรา หลังดื่มชานมไข่มุกได้ทันที..?” มันจะช่วยให้เราระวังการทานอาหารมากขึ้นมั้ย หรือจะส่งผลอย่างไรกับร่างกายของเรากันแน่? การเช็คน้ำตาลในเลือดอย่างสม่ำเสมอนั้นเป็นเรื่องที่เราควรจะทำอย่างมาก นอกจากจะช่วยให้เราห่างไกลจากโรคต่างๆอย่างเบาหวานแล้ว ยังจะช่วยให้เราควบคุมอาหารอย่างเป็นระบบระเบียบอีกด้วย แต่มันก็ติดอยู่ที่ว่าถ้าอยากรู้ ก็ต้องเจาะเลือด 1 ครั้ง แล้วต้องรอผล... ถ้าในหนึ่งวัน อยากติดตามผลตล