บทความทั้งหมด

article-cover
  • กล้ามเนื้อ, กระดูก
  • ข้ออักเสบติดเชื้อ (Septic arthritis)

ข้ออักเสบติดเชื้อ (Septic arthritis)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค ข้ออักเสบจากการติดเชื้อ เป็นการติดเชื้อบริเวณเนื้อเยื่อข้อต่อหรือน้ำไขข้อจนเกิดอาการอักเสบ ภาวะนี้มักเกิดจากการแพร่กระจายของเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัสจากอวัยวะส่วนอื่นที่ส่งผ่านมาทางกระแสเลือด หรืออาจติดเชื้อโดยตรงผ่านทางบาดแผลเปิด การฉีดยา หรือหลังจากการผ่าตัด บุคคลบางกลุ่มอาจเสี่ยงต่อการเกิดภาวะนี้ได้มากกว่าคนทั่วไป เช่น * เด็กเล็กและผู้สูงอายุมีโอกาสพัฒนาโรคได้มากกว่าช่วงวัยอื่น * ผู้ที่เคยผ่าตัดข้อต่อมาก่อน ผู้ที่มีปัญหาข้อต่อหรือโรคเรื้อรังที่เกี่ยวกับข้อต่อ เช

article-cover
  • จิตใจ, อารมณ์
  • ภาวะสับสนเฉียบพลัน (Delirium)

ภาวะสับสนเฉียบพลัน (Delirium)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค ภาวะสับสนเฉียบพลัน (Delirium) หรือภาวะเพ้อ คือ ภาวะที่สมองทำงานบกพร่องกระทันหันทำให้เกิดอาการสับสน กระวนกระวาย และระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ความคิด ความจำและสมาธิเสียไป รวมทั้งก่อให้เกิดอาการทางพฤติกรรมต่างๆตามมา เช่น วุ่นวาย นอนไม่หลับ ซึมเศร้า วิตกกังวล ภาวะเพ้อเกิดได้จากหลายปัจจัย ทั้งที่เป็นปัจจัยจากร่างกาย ปัจจัยทางด้านจิตใจ และปัจจัยจากสิ่งแวดล้อม ได้แก่ * ความผิดปกติในสมอง ได้แก่ เนื้องอกในสมอง โรคหลอดเลือดสมองตีบหรือแตก ภาวะความดันในกระโหลกศีรษะสูงผิดป

article-cover
  • จิตใจ, อารมณ์
  • ภาวะถอนพิษสุรา (Alcohol withdrawal syndrome)

ภาวะถอนพิษสุรา (Alcohol withdrawal syndrome)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค ภาวะถอนพิษสุรา เกิดขึ้นเมื่อผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์ปริมาณมากเป็นประจำหยุดดื่มแอลกอฮอล์หรือลดปริมาณการดื่มลงอย่างฉับพลัน ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสารสื่อประสาทในสมอง จนเกิดอาการถอนสุราตามมา อาการของโรค อาการมักเกิดขึ้นหลังจากหยุดดื่มแอลกอฮอล์ 24-72 ชั่วโมง โดยอาการผิดปกติจะแบ่งระดับความรุนแรงออกเป็น 2 แบบ ดังนี้ 1. อาการถอนสุราระดับเริ่มต้น (Simple withdrawal state) ผู้ป่วยจะมีอาการตัวสั่น มือสั่น เหงื่อออก ชีพจรเร็ว ร่วมกับมีอารมณ์หงุดหงิด คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพล

article-cover
  • จิตใจ, อารมณ์
  • ภาวะผิดปกติที่เกิดจากสารเสพติด (Substance related disorder)

ภาวะผิดปกติที่เกิดจากสารเสพติด (Substance related disorder)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค สารเสพติด เป็นสารที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอารมณ์ ความคิด และพฤติกรรมของผู้ที่ใช้สาร โดยมีกลไกการออกฤทธิ์ที่ทำให้เกิดความอยากเสพและการใช้สารนั้นซ้ำๆ จนหยุดเสพหรือลดปริมาณการใช้ไม่ได้ สามารถแบ่งกลุ่มสารเสพติดตามกลไกการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทได้ดังนี้ * สารกดประสาท (depressants) ได้แก่ ฝิ่น เฮโรอีน ยานอนหลับ สารระเหย ออกฤทธิ์กดการทำงานของระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้ผู้ใช้สารเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางช้าลง ระดับการรับรู้สติสัมปชัญญะลดลง * สารก

article-cover
  • จิตใจ, อารมณ์
  • ภาวะอารมณ์สองขั้ว (Bipolar disorder)

ภาวะอารมณ์สองขั้ว (Bipolar disorder)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค ภาวะอารมณ์สองขั้วเป็นภาวะที่มีความผิดปกติทางอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปมาสลับกัน คือ อารมณ์ดีหรือก้าวร้าวผิดปกติ กับอารมณ์ซึมเศร้า พบได้ราวร้อยละ 2-5 ของประชากรทั่วไป โดยผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีช่วงเวลาที่เกิดอารมณ์ซึมเศร้าบ่อยกว่าช่วงที่อารมณ์ดีหรือก้าวร้าวผิดปกติ ปัจจุบันเชื่อว่าภาวะไบโพลาร์นี้เกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น พันธุกรรม การทำงานที่ผิดปกติของสมอง และจากสภาพแวดล้อมของผู้ป่วย เช่น การเลี้ยงดูในวัยเด็ก หรือความเครียดในชีวิตประจำวันที่กระตุ้นให้โรคแสดงอาการ อาการของโร

article-cover
  • จิตใจ, อารมณ์
  • โรคจิตอารมณ์ (Mood disorder with psychotic feature unspecified)

โรคจิตอารมณ์ (Mood disorder with psychotic feature unspecified)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค โรคจิตทางอารมณ์เป็นความผิดปกติ ซึ่งประกอบด้วยลักษณะสำคัญคือ มีความผิดปกติของอารมณ์เป็นอย่างมาก ได้แก่ ซึมเศร้ามาก อารมณ์ดีหรือก้าวร้าวผิดปกติ หรือหงุดหงิดมาก ร่วมกับอาการจิตเภทที่มีความคิดและการรับรู้ไม่ตรงกับความเป็นจริง เช่น เห็นภาพหลอน หูแว่ว ระแวงคิดว่าคนอื่นจะมาทำร้าย เป็นต้น โรคจิตอารมณ์แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ * Depressive type จะมีอาการซึมเศร้าร่วมกับอาการจิตเภท โดยจะมีอาการขึ้นลงเป็นช่วงๆ แต่มักไม่มีช่วงที่อาการหายเป็นปกติเลย การพยากรณ์โรคจึงแย่กว่าโรคซึม

article-cover
  • จิตใจ, อารมณ์
  • ภาวะจิตเภท (Psychotic disorder)

ภาวะจิตเภท (Psychotic disorder)

ภาวะจิตเภท คืออะไร?(Psychotic disorder) ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค ภาวะจิตเภท เป็นกลุ่มอาการที่มีความผิดปกติของความคิด ทำให้ผู้ป่วยมีความคิดและการรับรู้ไม่ตรงกับความเป็นจริง ส่งผลเสียต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน เช่น การดูแลตัวเอง การใช้ชีวิตในสังคม ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะเริ่มเป็นเมื่ออายุประมาณ 14-16 ปี หรือช่วงปลายวัยรุ่น โรคนี้พบได้ ประมาณร้อยละ 1 ของประชากร สาเหตุการเกิดโรคเชื่อว่ามีสาเหตุมาจากทั้งด้านร่างกายและจิตใจ คือ * ด้านร่างกาย จากความผิดปกติของสมอง ทั้งจากสารสื่อประสาทในสมอง หรือจากโค

article-cover
  • จิตใจ, อารมณ์
  • โรคซึมเศร้า (Major depressive disorder)

โรคซึมเศร้า (Major depressive disorder)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค ความเศร้าปกติ (normal sadness) เป็นอารมณ์ด้านลบ ซึ่งเกิดขึ้นเป็นครั้งคราวกับบุคคลทั่วไป เมื่อเผชิญกับการสูญเสีย ผิดหวัง หรือความรู้สึกอึดอัดทรมาน ภาวะซึมเศร้า (depression) ต่างจากความเศร้าปกติตรงที่ เมื่อเผชิญกับเหตุการณ์การสูญเสีย ผิดหวัง ก็มักจะมีอาการเศร้ามากเกินจากปกติ หรือนานกว่าปกติ ไม่ดีขึ้นแม้ได้รับกำลังใจหรืออธิบายด้วยเหตุผล มักรู้สึกสิ้นหวัง ท้อแท้ มองโลกในแง่ร้าย รู้สึกผิด รู้สึกตัวเองไร้ค่าไม่มีความหมาย นอกจากนั้นอาจเป็นความรู้สึกเศร้า ท้อแท้ รู้สึกผิด ก

......