บทความทั้งหมด

article-cover
  • กล้ามเนื้อ, กระดูก
  • เส้นเอ็นไหล่อักเสบ (Rotator cuff syndrome)

เส้นเอ็นไหล่อักเสบ (Rotator cuff syndrome)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค เส้นเอ็นข้อไหล่ คือเส้นเอ็นขนาดเล็ก 4 เส้น ที่อยู่บริเวณรอบข้อไหล่ เส้นเอ็นกลุ่มนี้เป็นส่วนที่ต่อเนื่องมาจากกล้ามเนื้อสะบัก และผ่าน ข้อไหล่และยึดเกาะกับ ส่วนบนของกระดูกต้นแขน ทำหน้าที่ช่วยในการขยับไหล่ในมุมและท่าทางต่างๆกัน เช่นกางแขน ยกแขน หมุนไหล่ เป็นต้น การฉีกขาดอาจเริ่มจากการถลอกบริเวณด้านบนของเส้นเอ็น ซึ่งเกิดจากการเสียดสีของหินปูนบริเวณกระดูกกับตัวเส้นเอ็น หรืออาจเกิดจากภาวะเสื่อม ของตัวเส้นเอ็นเอง หรือเกิดจากการใช้งานหรืออุบัติเหตุ ซึ่งทั้งหมดนี้ทำให้เกิดเส้

article-cover
  • กล้ามเนื้อ, กระดูก
  • ข้อเท้าเคล็ด (Ankle sprain unspecified)

ข้อเท้าเคล็ด (Ankle sprain unspecified)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค ข้อเท้าเคล็ด เป็นภาวะที่พบได้บ่อยในการบาดเจ็บของข้อเท้า โดยต้นเหตุของการบาดเจ็บมักเกิดจากการที่เท้ายึดติดกับพื้นในขณะที่ข้อเท้ามีการบิดไม่ว่าจากแรงเฉื่อยของตัวหรือจากน้ำหนักตัว ส่งผลให้เกิดการบิดหมุนของข้อเท้าเกิดการฉีกขาดของเส้นเอ็นของข้อเท้า มักสามารถแบ่งความรุนแรงออกเป็นระดับต่างๆ เช่น การขาดสมบูรณ์หรือการขาดบางส่วน นอกจากนั้นการประเมินการบาดเจ็บร่วม ดังเช่น ภาวะที่ความรุนแรงของการฉีกขาดของเส้นเอ็นข้างเคียงที่ถัดไปฉีกขาดร่วมด้วยหรือไม่ ซึ่งอาจมีผลต่อความมั่นคงของ

article-cover
  • กล้ามเนื้อ, กระดูก
  • ข้อไหล่ติด (Frozen shoulder)

ข้อไหล่ติด (Frozen shoulder)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค โรคข้อไหล่ติด เกิดจากการอักเสบเรื้อรังของเยื่อหุ้มไหล่ ทำให้มีการหนาตัวและเกิดการหดรั้ง สาเหตุของการเกิดยังไม่เป็นที่แน่ชัด ส่วนมากพบจากการบาดเจ็บจึงทำให้เกิดการจำกัดการเคลื่อนไหวของข้อไหล่ เช่น มีกระดูกปลายแขนหักใส่เฝือกนาน 4 - 6 สัปดาห์ หรือผู้ป่วยที่มีการบาดเจ็บของเอ็นกล้ามไหล่โดยมีอาการปวดจนต้องหยุดการใช้งาน ทำให้เกิดภาวะข้อไหล่ติดได้เมื่อมีการไม่ได้ขยับข้อไหล่เป็นเวลานาน อาการของโรค อาการของโรคข้อไหล่ติด มี 3 ระยะ ได้แก่ ระยะปวด ระยะข้อติด และระยะฟื้นตัว 1

article-cover
  • กล้ามเนื้อ, กระดูก
  • ข้อเข่าเสื่อม (Osteoarthritis of knee)

ข้อเข่าเสื่อม (Osteoarthritis of knee)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค ข้อเข่าเสื่อม เป็นโรคที่มักพบในผู้สูงอายุ หรือในวัยกลางคนขึ้นไป การที่กระดูกอ่อน ในข้อต่อกระดูกเสื่อมสภาพจากปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ เช่น อายุ การใช้งาน เป็นต้น การเสื่อมสภาพของกระดูกอ่อน ส่งผลให้กระดูกเสียดสีกันหรือเกิดแรงกดมากขึ้น จนทำให้เจ็บบริเวณข้อต่อและขยับข้อต่อลำบาก หากไม่รีบรักษา อาการอาจรุนแรงขึ้น หรือเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ โดยทั่วไปแล้ว ข้อเสื่อมมักเกิดบริเวณข้อนิ้วมือ เข่า สะโพก กระดูกสันหลัง และเกิดขึ้นได้กับทุกคน โดยเฉพาะผู้สูงวัยที่อายุมากกว่า 50 ปี อาการของ

article-cover
  • กล้ามเนื้อ, กระดูก
  • กล้ามเนื้ออักเสบบริเวณบ่า (Shoulder pain (Muscle strain))

กล้ามเนื้ออักเสบบริเวณบ่า (Shoulder pain (Muscle strain))

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค กล้ามเนื้ออักเสบ คือภาวะตึง ปวดหรืออักเสบเรื้อรังของเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย มักมีสาเหตุจากการใช้งานกล้ามเนื้อซ้ำๆ หรือใช้มากเกินไปจากการทำกิจกรรมประจำวัน โดยเกิดขึ้นได้กับคนทุกเพศทุกวัย สาเหตุหรือสิ่งกระตุ้นที่ทำให้กล้ามเนื้อรอบข้อไหล่มีการอักเสบ หรือยึดตึง * อิริยาบถ ท่าทางที่ผิดปกติ เช่น ไหล่ห่อ ไหล่งุ้ม * การเกร็งใช้กล้ามเนื้อมัดนั้นนิ่งอยู่นาน เกินขีดความสามารถของกล้ามเนื้อนั้นที่จะทนได้ เช่น การนั่งเขียนหนังสือนานเป็นหลายชั่วโมง นั่งทำงา

article-cover
  • กล้ามเนื้อ, กระดูก
  • ข้ออักเสบรูมาตอยด์ (Rheumatoid arthritis)

ข้ออักเสบรูมาตอยด์ (Rheumatoid arthritis)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ (rheumatoid arthritis) เป็นโรคของข้อต่อที่เกิดจากการอักเสบเรื้อรังของเยื่อหุ้มข้อซึ่งอยู่บริเวณรอยต่อระหว่างกระดูก โดยจัดเป็นหนึ่งในกลุ่มโรคภูมิต้านตนเอง (autoimmune disease) ที่มีลักษณะเฉพาะคือมีการอักเสบรุนแรงของข้อโดยเฉพาะข้อนิ้วมือ ข้อนิ้วเท้า ซึ่งหากปล่อยทิ้งไว้จะส่งผลให้ข้อถูกทำลายและเกิดความพิการตามมาได้ สาเหตุของการเกิดโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ยัง ไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด จากการศึกษาพบว่ามีปัจจัยหลายประการที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ ปัจจัยทางพัน

article-cover
  • กล้ามเนื้อ, กระดูก
  • เก๊าต์กำเริบ (Acute gouty attack)

เก๊าต์กำเริบ (Acute gouty attack)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค ภาวะเกาต์กำเริบ (Acute gouty attack) เกิดจากการที่ร่างกายมีระดับกรดยูริกในเลือดสูงกว่าปกติ (Hyperuricemia) ทำให้เกิดการสะสมเป็นผลึกในน้ำไขข้อและเนื้อเยื่อต่างๆ เรียกว่าผลึกเกลือโมโนโซเดียมยูเรต (Monosodium urate) ซึ่งกระตุ้นให้เกิดการอักเสบ ปวดบวมอย่างรุนแรงของข้อขึ้นมาได้ เก๊าต์เป็นโรคข้ออักเสบที่พบบ่อย มีอุบัติการณ์การเกิด 4.3 คนต่อประชากรไทย 100,000 คน โดยพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง ปัจจัยที่กระตุ้นให้ระดับกรดยูริกในเลือดสูงจนตกตะกอนเป็นผลึก ได้แก่ * การรับประทานอ

article-cover
  • จิตใจ, อารมณ์
  • โรคนอนไม่หลับ (Insomnia)

โรคนอนไม่หลับ (Insomnia)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค โรคนอนไม่หลับเป็นปัญหาที่พบได้ในทุกเพศทุกวัย แม้ว่าโรคนี้จะไม่ได้รุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต แต่ก็ส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวัน และคุณภาพชีวิตได้ สาเหตุการเกิดโรคเกิดได้จากหลายปัจจัย คือ * ปัจจัยด้านร่างกาย มีอาการป่วยที่มีส่วนทำให้เกิดโรค เช่น โรคขาอยู่ไม่สุข (Restless legs syndrome) โรคกรดไหลย้อน ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ นอกจากนี้ยังเกิดจากสภาวะของร่างกายตามอายุ เช่น การหมดประจำเดือน รวมไปถึงอาการเหนื่อยล้าจากการทำงาน * ปัจจัยด้านจิตใจ สภาวะความเครียด ความวิตกกังวลมีผลทำใ

......