บทความทั้งหมด

article-cover
  • จิตใจ, อารมณ์
  • ภาวะการปรับตัวผิดปกติ (Adjustment disorder)

ภาวะการปรับตัวผิดปกติ (Adjustment disorder)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค ภาวะการปรับตัวผิดปกติ (adjustment disorder) มีสาเหตุชัดเจนจากภาวะความกดดัน หรือความเครียด ที่ทำให้คนไข้ไม่สามารถปรับตัวรับกับสภาวะนั้นๆ ได้อย่างเหมาะสม มีความทุกข์ ทรมาน จนกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน เช่น การเรียน การงาน และการเข้าสังคม สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน โดยแต่ละคนมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อความเครียดแตกต่างกัน ภาวะนี้เป็นภาวะทางจิตเวชที่สามารถหายเป็นปกติได้ โดยอาการมักจะเกิดภายในระยะเวลา 3 เดือนหลังจากมีภาวะความกดดัน หรือความเครียดมากระทบ และมีอาการคงอยู่นานไม่เก

article-cover
  • จิตใจ, อารมณ์
  • ภาวะวิตกกังวล (Anxiety reaction)

ภาวะวิตกกังวล (Anxiety reaction)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค วิตกกังวล (anxiety) เป็นอารมณ์ที่เกิดจากความยุ่งเหยิงภายในจิตใจ มักเกิดขึ้นพร้อมกับความแปรปรวนทางอารมณ์ เกิดขึ้นได้เมื่อครุ่นคิดคาดการณ์ถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เช่น คิดเรื่องที่ตนเองจะตาย ความวิตกกังวลเป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อความเครียดที่มีประโยชน์ในบางสถานการณ์ เพราะช่วยให้เราตื่นตัวและพร้อมรับมือกับปัญหาหรือเหตุการณ์ต่างๆที่จะเกิดขึ้น อย่างไรก็ตามหากมีความวิตกกังวลอย่างเกินเหตุหรือมากเกินไป ก็จะมีผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวันได้ อาการของโรค ความคิดวิตกกัง

article-cover
  • จิตใจ, อารมณ์
  • ความเสี่ยงโรควิตกกังวล (Anxiety disorder)

ความเสี่ยงโรควิตกกังวล (Anxiety disorder)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค โรควิตกกังวล (Anxiety Disorder) คือ โรคทางจิตใจที่มีความรุนแรงกว่าความวิตกกังวลที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ซึ่งโรควิตกกังวลอาจส่งผลทำให้เกิดอุปสรรคในการใช้ชีวิตประจำวัน เช่น การทำงาน การเรียนหนังสือ และการรักษาความสัมพันธ์กับคนรอบข้าง อย่างไรก็ตาม หากผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างเหมาะสมก็สามารถจัดการกับอาการและกลับมาใช้ชีวิตปกติได้ โรควิตกกังวลมีอยู่ 6 ประเภท คือ โรคแพนิค (Panic Disorder) โรคกังวลทั่วไป (Generalized Anxiety Disorder: GAD) โรคกลัวการเข้าสังคม (Social Anxiety

article-cover
  • อวัยวะเพศ, ระบบสืบพันธุ์
  • ก้อนในท้องน้อย (Pelvic mass unspecified)

ก้อนในท้องน้อย (Pelvic mass unspecified)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค ก้อนบริเวณท้องน้อย สามารถเป็นได้จากหลายโรค หลายอวัยวะ เช่น กระเพาะปัสสาวะ มดลูก รังไข่ ท่อนำไข่ รวมไปถึงการตั้งครรภ์ในระยะต้น อาการของโรค คลำได้ก้อนบริเวณท้องน้อย อาจมีอาการอื่นๆ ร่วมด้วย ขึ้นกับว่าก้อนนั้นเป็นโรคใด เช่น มีไข้ ปวดท้อง มีเลือดออกทางช่องคลอดผิดปกติ ตกขาวผิดปกติ เป็นต้น นอกจากนี้ หากก้อนมีขนาดใหญ่ อาจมีอาการที่เกิดจากก้อนไปกดเบียดอวัยวะข้างเคียง คือ กระเพาะปัสสาวะและลำไส้ ทำให้มีอาการผิดปกติ เช่น ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะไม่ออก ท้องผูก เป็นต้น แนวทางการ

article-cover
  • อวัยวะเพศ, ระบบสืบพันธุ์
  • ภาวะท้องนอกมดลูก (Ectopic pregnancy)

ภาวะท้องนอกมดลูก (Ectopic pregnancy)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค ภาวะท้องนอกมดลูก คือ การที่ตัวอ่อนทารกไปฝังตัวอยู่บริเวณอื่นที่ไม่ใช่ผนังมดลูก โดยมักเกิดขึ้นบริเวณท่อนำไข่ (ปีกมดลูก) ทำให้ตัวอ่อนไม่สามารถเจริญเติบโตต่อไปเป็นทารกได้ ซึ่งพบว่าการตั้งครรภ์นอกมดลูกเกิดขึ้นประมาณ 1 ในทุกๆ 50 ของการตั้งครรภ์ ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะท้องนอกมดลูก เช่น การติดเชื้อของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์ เคยทำหมันในผู้หญิง เคยมีประวัติท้องนอกมดลูกมาก่อน อายุมากกว่า 35 ปีขึ้นไป ใช้ยาคุมกำเนิดฉุกเฉิน การสูบบุหรี่ โดยทั่วไปแล้วการตั้งครรภ์นอกมดลูกไม่สามาร

article-cover
  • อวัยวะเพศ, ระบบสืบพันธุ์
  • ภาวะแท้งคุกคาม (Threatened abortion)

ภาวะแท้งคุกคาม (Threatened abortion)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค ภาวะแท้งคุกคาม คือ ภาวะที่มีเลือดไหลออกทางช่องคลอดขณะตั้งครรภ์โดยที่ปากมดลูกยังไม่เปิดออก ส่วนใหญ่มักเกิดในช่วงอายุครรภ์ไม่เกิน 20 สัปดาห์ ส่งผลให้หญิงตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการสิ้นสุดการตั้งครรภ์หรือนำไปสู่การแท้งบุตร ภาวะนี้พบได้ประมาณร้อยละ 20 - 30 ของหญิงตั้งครรภ์ และมีประมาณร้อยละ 50 ของผู้ที่มีแท้งคุกคามสามารถตั้งครรภ์ต่อได้ตามปกติจนกระทั่งคลอดบุตร ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด แต่เชื่อว่ามีหลายปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดเลือดออกในขณะตั้งครรภ์และนำไปสู่ภาวะแท้งคุกคาม

article-cover
  • อวัยวะเพศ, ระบบสืบพันธุ์
  • ภาวะหมดประจำเดือน/วัยทอง (Menopause)

ภาวะหมดประจำเดือน/วัยทอง (Menopause)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค วัยหมดประจำเดือน หรือวัยหมดระดู หมายถึง สตรีในวัย 40 – 59 ปี ที่มีระดับฮอร์โมนเอสโตรเจน (Estrogen) ลดลงเนื่องจากรังไข่หยุดทำงาน ซึ่งเป็นภาวะที่เกิดขึ้นในหญิงทุกคนตามธรรมชาติ ทำให้สิ้นสุดการมีประจำเดือนอย่างถาวรร่วมด้วยกับการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาอื่นๆตามมา เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคกระดูกพรุน โรคเบาหวาน โรคหัวใจ เป็นต้น อาการของโรค อาการระยะสั้น * ประจำเดือนมาไม่ปกติ มาติดกันหรือห่างจากกันมาก หรือเลือดออกช่องคลอดกะปริบกะปรอยได้ * อาการร้อนวูบวาบ * นอนไม่หลั

article-cover
  • อวัยวะเพศ, ระบบสืบพันธุ์
  • ถุงน้ำรังไข่ (PCOS)

ถุงน้ำรังไข่ (PCOS)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค โรคถุงน้ำรังไข่ คือ ความผิดปกติที่มีถุงน้ำหลายใบเกิดขึ้นภายในรังไข่ ส่งผลให้การทำงานของรังไข่เสียไป เกิดความผิดปกติของระบบฮอร์โมนและระบบสืบพันธุ์ มีอาการแสดงของโรคแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล โดยภาวะนี้ถือเป็นสาเหตุหนึ่งของภาวะมีบุตรยากในเพศหญิง รวมถึงทำให้เพิ่มความเสี่ยงต่อภาวะครรภ์เป็นพิษ การคลอดก่อนกำหนด และการเป็นเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์อีกด้วย ปัจจุบันยังไม่ทราบถึงสาเหตุที่แท้จริงของการเกิดโรคถุงน้ำในรังไข่ อาการของโรค * ประจำเดือนมาไม่ปกติ คือ มาห่าง หรือไม่มาต

......